Select Page

พระพุทธรูปสัมฤทธิ์สมัยเชียงแสน

“พิพิธภัณฑ์ส่วนตัวพุทธรักษา”ขอนำพระพุทธรูปสมัยเชียงแสน(สิงห์​ 1)อายุราว​ 600-900ปี​ จำนวน​ 4องค์​ มาให้ท่านสมาชิกได้ศึกษาและพิจารณา​ โดยจะแบ่งออกเป็น​ 2รูปแบบได้แก่
1.แบบฐานแยกชิ้นได้​ จำนวน​ 2องค์
– วรรณะเขีย​ว​ หน้าตักกว้าง​ 9นิ้ว
– วรรณะน้ำตาลเข้ม​ หน้าตักกว้าง​ 12นิ้ว
2.แบบฐานแยกชิ้นไม่ได้​ จำนวน​ 2องค์
-​ วรรณะเขียว​ หน้าตักกว้าง​ 9นิ้ว
-​วรรณะน้ำตาลเข้ม​ หน้าตักกว้าง​ 9นิ้ว
– โดยในครั้งนี้จะขอเน้นในรายละเอียดของพระพุทธรูปที่เป็นแบบแยกฐานได้ สำหรับพระพุทธรูปเชียงแสนสิงห์1 แบบแยกฐานได้นั้นอายุความเก่สจะใกล้เคียงกันกับรูปแบบที่แยกฐานไม่ได้ เพียงแต่ขั้นตอนและวิธีการสร้างนั้น จะมีความพิเศษและซับซ้อนกว่า เนื่องจากช่างจะต้องหล่อฐานแยกออกมาต่างหาก ไม่ได้หล่อพร้อมกับองค์พระพุทธรูป และจากการพิจารณาในรายละเอียดก็จะมีความสมบูรณ์,งดงามมากกว่าในแบบที่ฐานแยกไม่ได้
ข้อมูลและประวัติสำคัญที่ควรทราบในเบื้องต้น
– พระพุทธรูปสมัยเชียงแสนนั้น​ เป็นพระพุทธรูปที่สร้างโดยช่างพื้นเมืองโบราณในมณฑลพายัพหรือภาคเหนือของไทยในอดีต​เช่นเชียงใหม่, ลำพูน, แพร่, น่าน ข้ามใั่งจนไปถึงหลวงพระบางและเวียงจันทน์ของประเทศลาว​ แต่พระพุทธรูปที่พบว่ามีศิลปะงดงามนั้นจะพบได้ที่เมืองเชียงแสนเก่า​มากกว่าเมืองอื่นๆ จึงเรียกชื่อว่า”ศิลปะเชียงแสน” ตามชื่อสถานที่นั่นเอง พระพุทธรูปสมัยเชียงแสนและบริเวณใกล้เคียงกับพื้นที่ภาคเหนือในปัจจุบันนั้น ได้รับอิทธิพลมาจากศิลปะอินเดียโบราณ “สมัยปาละ” ซึ่งเจริญรุ่งเรืองมากในอินเดียราว​ พ.ศ.1273-1740 โดยสำนักพุทธวิทยาลัยนาลันทา โดยได้แพร่มายังฝั่งตะวันออกมีประเทศพม่าและชวาเป็นต้น
– พุทธศิลป์ของพระพุทธรูป “เชียงแสน” จะเหมือนกับสมัย”ปาละ” ทุกอย่างได้แก่
-​ ลำพระองค์อวบอ้วน
– พระเกศมาลาเป็นต่อมกลม(บัวตูม)​
– นั่งขัดสมาธิเพชร
– พระหัตถ์ในท่าปางมารวิชัย
-​ พระอุระ(อก)​นูน
-​ ชายสังฆาฏิสั้นอยู่เหนือพระถัน(หัวนม)​
-​ พระพักตร์(ใบหน้า)​กลมสั้น
-​ พระขนง (คิ้ว)​โก่ง
– พระนาสิก(จมูก)​งุ้ม
– พระโอษฐ์(ปาก)​เล็ก
-​ พระหนุ(คาง)​เป็นปม
-​ เม็ดพระศก(ผม)​เป็นต่อมกลมคล้ายก้นหอย
-​ ไม่มีไรพระศก
– ฐานมีบัวรองทั้งบัวคว่ำและบัวหงาย​ มีกลีบแซมและเกสร
วิธีการพิจารณา พระพุทธรูปสมัยเชียง แสน ของแท้นั้นยังคงใช้หลักการเหมือนกับการพิจารณาพระเครื่องหมวดอื่นๆเช่นกัน
“หลักการ”พิจารณาพระเครื่องแท้ทุกหมวดหมู่จะต้องประกอบด้วย 3องค์ประกอบหลัก คือ
1.อายุความเก่าถูกต้องมีสัดส่วน 30%
-ให้พิจารณาลจากความเก่าของโลหะสัมฤทธิ์ ผิวโลหะต้องเรียตึงไม่บวม,สนิมหนามีความเก่าสมอายุและดินใต้ฐานต้องเก่าแกร่ง
2.พิมพ์(20%)และวิธีการสร้าง(20%)ถูกต้องรวมสัดส่วน40%
– ให้พิจารณาศิลปะที่ถูกต้องรายละเอียดต่างๆต้องดูแล้วนิ่มตามี ศิลปะที่ถูกต้อง การหล่อโบราณฝีมือช่างจะต้องมีความปราณีต
3.วัสดุหรือมวลสารที่ใช้สร้างถูกต้อง มีสัดส่วน 30%
– พิจารณาโลหะสัมฤทธิ์ที่ตรงยุค,ดินใต้ฐานต้องเป็นดินไทยเก่า
ต้องพิจารณาให้ครบถ้วนทั้ง 3องค์ประกอบทุกครั้ง “พระเครื่องแท้” จะต้องมีสัดส่วนครบ 100% เท่านั้น
ท่านสามารถศึกษาพระเครื่องหมวดต่างๆเพิ่มเติมของ”พิพิธภัณฑ์ส่วนตัวพุทธรักษา”แหล่งรวบรวมข้อมูลและสะสมพระพุทธรูป,พระบูชา,พระเครื่องทุกหมวดหมู่,เครื่องรางของขลังและเครื่องถ้วยโบราณจากแหล่งต่างๆที่หาชมยากและมากที่สุดของเมืองไทย ที่จัดตั้งขึ้นมาเพื่อเป็นวิทยาทาน โดยไม่มีจุดประสงค์เพื่อการค้าหรือการพาณิชย์ใดๆมาแอบแฝง ได้ที่ช่องทาง
-เว็บไซต์​ www.puttharugsa.com
-เฟสบุ๊คเพจ”พิพิธภัณฑ์ส่วนตัวพุทธรักษา”
-ช่องยูทูป” พิพิธภัณฑ์ส่วนตัวพุทธรักษา”
” The Private Puttharugsa Museum ” presents four ancient Chiang Saen Buddha statues (Singha 1), dating back approximately 600-900 years, for members to study and consider. These statues are categorized into two types:
Detachable Base Type (2 statues):
Green Patina, 9 inches wide
Dark Brown Patina, 12 inches wide
Non-Detachable Base Type (2 statues):
Green Patina, 9 inches wide
Dark Brown Patina, 9 inches wide
This time, we will focus on the details of the detachable base Buddha statues. The Chiang Saen Singha 1 Buddha statues with detachable bases are approximately as old as the non-detachable base types. However, their construction process is more intricate and complex. The base is cast separately, not together with the statue, resulting in more completeness and beauty compared to the non-detachable type.
Key Information and Historical Background:
Chiang Saen Period Buddha Statues were crafted by ancient local artisans in the Payap region or the northern part of Thailand in the past, including Chiang Mai, Lamphun, Phrae, and Nan, extending to Luang Prabang and Vientiane in Laos. The most exquisite Buddha statues were found in Old Chiang Saen, leading to the term “Chiang Saen Art.” The statues and surrounding areas in the current northern region were influenced by ancient Indian art from the Pala Period, which flourished in India around 1273-1740 CE under the Nalanda University. This style spread to the eastern regions, including Burma and Java.
Characteristics of Chiang Saen Buddha Statues resemble the Pala style, including:
Plump body
Rounded Ushnisha (topknot)
Cross-legged posture
Hand gesture in Bhumisparsha Mudra
Prominent chest
Short Sanghati above the nipple
Round face
Arched eyebrows
Hooked nose
Small mouth
Knotted chin
Spiral-shaped hair curls
Absence of hairlines
Base adorned with lotus motifs
How to Evaluate Authentic Chiang Saen Buddha Statues:
The principles for evaluating authentic Chiang Saen Buddha statues are similar to those for other amulets:
Correct Age (30%): Assess the patina of the bronze, which should be smooth, not swollen, with aged patina and solid earth under the base.
Correct Form (20%) and Construction Method (20%): Totaling 40%, evaluate the correct artistic details, softness of appearance, correct art, and craftsmanship.
Correct Materials (30%): Consider the appropriate period bronze and old Thai earth under the base.
All three components must be fully evaluated. An “authentic amulet” must have a 100% score.
For further study of various types of amulets, the “Private Puttharugsa Museum” is a source of information and collection of Buddha statues, sacred amulets, talismans, and ancient ceramics from rare sources throughout Thailand. It was established for educational purposes without any commercial intent.
You can explore more through:
Facebook Page: “พิพิธภัณฑ์ส่วนตัวพุทธรักษา”
YouTube Channel: “พิพิธภัณฑ์ส่วนตัวพุทธรักษา”
“私人普塔鲁萨博物馆” 提供了四尊清盛时期的佛像(狮1型),年代约为600-900年,供会员学习和参考。这些佛像分为两种类型:
可拆卸底座类型(2尊):
青色,宽9英寸
深棕色,宽12英寸
不可拆卸底座类型(2尊):
青色,宽9英寸
深棕色,宽9英寸
这次将重点介绍可拆卸底座的佛像。清盛狮1型可拆卸底座的佛像和不可拆卸底座的佛像年代相近,但其制作过程更加复杂和独特。底座是单独铸造的,而不是与佛像一同铸造,因此比不可拆卸类型更加完整和美观。
基本信息和历史背景:
清盛时期佛像是由古代本地工匠在泰国北部的帕亚普地区(如清迈、南奔、帕、楠等)制作的,扩展到老挝的琅勃拉邦和万象。最精美的佛像多出现在旧清盛,因此被称为“清盛艺术”。清盛佛像及其周边地区深受古印度艺术“巴拉时期”的影响,该风格在公元1273-1740年间的印度那烂陀佛教大学非常盛行,并传播到东部地区如缅甸和爪哇。
清盛佛像的特点与“巴拉时期”相似,包括:
圆润的身躯
圆形的顶髻
盘腿坐姿
手势为触地印
突出的胸部
短的袈裟在乳头上方
圆形的面庞
弧形的眉毛
钩鼻
小嘴
结状的下巴
螺旋状的发卷
无发际线
底座有莲花装饰
如何评估正宗的清盛佛像:
评估清盛佛像的原则与其他护身符相似:
正确的年代(30%):评估青铜的包浆,应光滑,不肿胀,包浆古老,底座下的土壤坚固。
正确的形式(20%)和制作方法(20%):共占40%,评估正确的艺术细节,外观的柔和度,正确的艺术风格和工艺。
正确的材料(30%):考虑符合时代的青铜和底座下的古老泰国土壤。
必须全面评估所有三个组成部分。正宗的“护身符”必须达到100%分数。
想了解更多种类的护身符,”私人普塔鲁萨博物馆” 是一个信息来源和收藏地,汇集了佛像、佛教文物、护身符、古代陶瓷等,旨在提供教育,没有任何商业意图。
您可以通过以下方式了解更多:
Facebook 页面:”พิพิธภัณฑ์ส่วนตัวพุทธรักษา”
YouTube 频道:”พิพิธภัณฑ์ส่วนตัวพุทธรักษา”